Product Description
Theratonin 3 mg. 90 เม็ด
Theratonin 3 mg. คือ
Melatonin เมลาโทนิน คือ เป็นฮอร์โมนและสารต้านอนุมูลอิสระที่หลั่งออกมาตามธรรมชาติของร่างกายจากต่อม Pineal บริเวณส่วนกลางในสมอง เมลาโทนินทำหน้าที่ควบคุมนาฬิกาชีวิต ทำให้วัฏจักรการนอนหลับในแต่ละวันของเราเป็นไปอย่างราบลื่น เมื่อถึงเวลานอนหลับจึงพักผ่อนได้อย่างเพียงพอ จากการวิจัยพบว่าเมลาโทนินยังอาจช่วยให้เราหลับได้เร็วขึ้น และปรับปรุงประสิทธิภาพการนอนหลับให้มีคุณภาพขึ้นได้ โดยเมลาโทนินจะอยู่ในกระแสเลือดคนเราได้เพียงวันละ 12 ชั่วโมงแล้วค่อยๆ ลดลงเมื่อได้รับแสงอาทิตย์ในตอนเช้า จึงเป็นประโยชน์ที่ดีกว่ายานอนหลับเพราะไม่ทำให้อ่อนเพลียต่อเนื่อง นอกจากนี้เมลาโทนินยังมีประโยชน์ช่วยควบคุมวงจรการสืบพันธุ์ของผู้หญิง และเป็นสารต้านอนุมูลอิสระช่วยฟื้นฟูระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายด้วย
Theratonin เมลาโทนิน ช่วยการนอนหลับ
อาหารเสริมเมลาโทนินช่วยเสริมฮอร์โมนของร่างกายทำให้นอนหลับพักผ่อนได้ง่ายขึ้น เป็นอาหารเสริมที่ปลอดภัย มีผลข้างเคียงน้อยและมีประสิทธิภาพที่เห็นผลจริง เหมาะกับผู้มีปัญหาการนอนหลับ เจ็ทแล็ก ทำให้หลับได้นานอย่างมีคุณภาพขึ้น สูตรบำรุงร่างกายที่ได้รับการทดสอบและรับรองจาก NSF มี cGMP จากประเทศสหรัฐอเมริกา
- ปริมาณเหมาะสมสำหรับหนึ่งวัน เป็นแบบเม็ดรับประทานง่าย มีเมลาโทนินเกรดเภสัช 3 มก.ต่อเม็ด
- เสริมการนอนหลับด้วยวิธีปลอดภัยและมีประสิทธิภาพที่เห็นผลได้จริง
- Theratonin ให้เมลาโทนินโดยไม่มีสารอื่นเพิ่มเติม ตรงความต้องการของผู้ใช้งาน
- คุณภาพที่วางใจได้ ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกา ได้รับการทดสอบและรับรองโดย NSF และจดทะเบียน cGMP
ทำไมต้อง Theratonin ของ Theralogix
อาหารเสริมเมลาโทนิ ยี่ห้อ Theralogix ได้ผ่านการทดสอบแล้ว และได้รับการรับรองว่าสามารถช่วยในการนอนหลับให้ดียิ่งขึ้น เพียง 1 เม็ดก่อนนอน theratonin มี melatonin 3 มก. เพื่อช่วยในการกระตุ้นการนอนหลับที่มีคุณภาพตลอดทั้งคืน
Theratonin เมลาโทนิน ส่วนประกอบของอาหารเสริม
ในเม็ดยามี Melatonin 3 mg. ไม่มีส่วนผสมของสีย้อมและกลูเต็น หนึ่งกระปุกมีปริมาณสำหรับรับประทานได้ 90 วัน
Theratonin แตกต่างจากอาหารเสริมเมลาโทนินทั่วไปอย่างไร
- Theratoninมีเมลาโทนิน เกรดยาปริมาณ 3 มิลลิกรัมในแต่ละเม็ด โดยเม็ดยาเป็นแบบเม็ดสีละลายง่ายเคี้ยวได้
- Theratonin ได้รับการรับรองจาก NSF International ที่ตรวจสอบรับรองมาตรฐานและความถูกต้องตามฉลากยา เทราโทนินยังเลือกใช้สารที่มีความบริสุทธิ์ (Purity) สูงเพื่อประสิทธิภาพการทำงานที่เห็นผลจริง
- จากการวิจัยที่ตีพิมพ์เมื่อเร็วๆ นี้ ได้ทำการทดสอบผลิตภัณฑ์เมลาโทนินถึง 30 ชนิดด้วยกัน พบว่า 71% ของอาหารเสริมที่เข้าทดสอบระบุปริมาณเมลาโทนินไม่ตรงตามฉลากโดยอาจมีปริมาณเมลาโทนินตั้งแต่ร้อยละ 83-478 มากกว่าระดับเมลาโทนินที่ระบุไว้ในฉลาก นอกจากนี้อีก 26% ของผลิตภัณฑ์ที่ทดสอบมีการปนเปื้อนของสาร Seritonin สารสื่อประสาทที่มีฤทธิ์รุนแรงไม่เหมาะกับการใช้งาน
ดังนั้นการเลือกรับประทานเมลาโทนิน จึงควรเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการรับรองและการตรวจสอบอย่างถูกต้องผ่านองค์กรตรวจสอบเสมอ
Theratonin มีผลข้างเคียงกับร่างกายหรือไม่
- ผลการพิสูจน์พบว่าเมลาโทนินถือว่าปลอดภัยสำหรับคนที่มีสุขภาพดีส่วนใหญ่ เมลาโทนินเป็นฮอร์โมนชนิดหนึ่งที่ทำให้ร่างกายเกิดอาการง่วงนอน “หนักศรีษะ” และวิงเวียนได้ เมื่อรับประทานจึงห้ามขับรถและใช้เครื่องจักรหนักเด็ดขาดเป็นเวลา 4-5 ชั่วโมงหลังจากรับประทาน Theratonin
ใครบ้างที่ไม่ควรรับประทาน Theratonin
- สตรีตั้งครรภ์ไม่ควรรับประทาน เพราะยังไม่มีหลักฐานการวิจัยที่เพียงพอถึงความปลอดภัยของเมลาโทนินระหว่างการตั้งครรภ์และให้นมบุตร
- ผู้ที่แพ้สตรอเบอร์รี่, มันหวาน, เรดิช, เชอร์รี่ และแอปเปิ้ล ไม่ควรรับประทาน เพราะ Theratonin แต่งสีและกลิ่นจากผลไม้เหล่านี้
- ผู้ที่แพ้หญ้าหวาน ไม่ควรรับประทาน เพราะใน Theratonin ใช้สารสกัดจากหญ้าหวานให้ความหวานแทนน้ำตาล
- หากคุณกำลังอยู่ในช่วงรับการรักษาโรคภูมิคุ้มกันอัตโนมัติ, ภาวะซึมเศร้า, โรคเบาหวาน, โรคทางเดินปัสสาวะ และโรคต่อมไทรอยด์ เมลาโทนินอาจทำให้ภาวะซึมเศร้าแย่ลงได้ในบางคน, อาจมีผลเพิ่มหรือลดระดับน้ำตาลในเลือดของผู้เป็นวาหวาน ดังนั้นอย่าลืมติดตามระดับน้ำตาลในเลือดอย่างใกล้ชิดหากใช้เมลาโทนิน และเมลาโทนินอาจส่งผลกระทบต่อฮอร์โมนไทรอยด์ ดังนั้นหากกำลังใช้ยารักษาไทรอยด์ควรปรึกษาแพทย์ว่าคุณจะสามารถใช้เมลาโทนินร่วมกับการรักษาได้หรือไม่
- ควรขอคำปรึกษากับแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญประจำตัวก่อนเริ่มรับประทาน Theratonin เมื่อคุณมีปัญหาเรื่องการนอนหลับระยะยาว
- ปรึกษาแพทย์หากต้องการใช้กับเด็ก
- หากคุณมีอาการป่วยและกำลังรักษาโรคควรปรึกษาแพทย์ก่อนเริ่มใช้เมลาโทนิน
Theratonin แต่งสีและกลิ่นธรรมชาติหรือไม่
- รสชาติของผลไม้เล็กๆ ที่ใช้ใน Theratonin ประกอบด้วยสตรอเบอร์รี่เข้มข้น, ผงผลไม้และผักที่ใช้เป็นสีธรรมชาติประกอบด้วย มันหวาน เรดิช เชอร์รี่ และแอปเปิ้ล เป็นส่วนประกอบ
สามารถทาน Theratonin กับอาหารเสริมชนิดอื่นได้หรือไม่
- แน่นอน, คุณสามารถทาน Theratonin กับอาหารเสริมอื่นๆได้
อาหารเสริมชนิดใดบ้างที่ไม่แนะนำให้ทานกับ Theratonin
- สมุนไพร Echinacea (เอ็กไคนาเซีย สมุนไพรชนิดหนึ่ที่มักจะนำมารักษาโรคหวัด) เอ็กไคนาเซียเมื่อรับประทานกับ Theratonin อาจมีผลเสียต่อระบบภูมิคุ้มกัน
- สมุนไพร St. John’s wort และ Vitex angus-castus สมุนไพรทั้งสองชนิดมีส่วนช่วยเพิ่มระดับเมลาโทนินในร่างกาย ในทางทฤษฎีการรับประทานอาหารเสริมเหล่านี้อาจส่งผลกระทบข้างเคียงกับเมลาโทนิน
- อย่าใช้ Theratonin กับอาหารเสริมชนิดอื่นที่เป็นอาหารเสริมมีเมลาโทนิน
Theratonin มีผลต่อยาหรืออาหารเสริมอื่นๆ หรือไม่
ก่อนใช้ Theratonin โปรดปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรของคุณเพื่อตรวจสอบว่าเหมาะกับคุณหรือไม่ เพราะเมลาโทนินอาจแทรกแซงกับประสิทธิภาพของยาต่อไปนี้
- ยาต้านเบาหวาน : ควรใช้เมลาโทนินอย่างระมัดระวังเนื่องจากเมลาโทนินอาจมีส่วนเพิ่มหรือลดระดับน้ำตาลในเลือดหรือลดประสิทธิภาพยาเหล่านี้ ควรเช็คระดับน้ำตาลอย่างใกล้ชิด
- ยาป้องกันอาการชัก (Antivonvulsants) : เมลาโทนินอาจลดประสิทธิภาพของยากันชักได้ ไม่ควรใช้กับ phenobarbital, primidone (Mysoline), กรด valproic (Depakene), gabapentin (Neurontin), carbamazepine (Tegretol) และ phenytoin (Dilantin)
- ลดประสิทธิภาพการทำงานของยา : เมลาโทนินอาจเพิ่มความเสี่ยงการชักได้ในบางคน จึงควรใช้อย่างระมัดระวังกับยาประเภทต่อไปนี้ ยาชา (ยา propofol อื่น ๆ ), antiarrhythmics (mexiletine) ยาปฏิชีวนะ (amphotericin, penicillin, cephalosporins, imipenem), antidepressants (bupropion, others) antihistamines (cyproheptadine, other) immunosuppressants (cyclosporine) ยาประเภท fentanyl, stimulants (methylphenidate) และ theophylline
- ยาลดความดันโลหิตสูง : แม้ว่าเมลาโทนินมีส่วนช่วยลดความดันโลหิตในผู้มีสุขภาพดี แต่อาจทำให้ผู้ที่มีโรคความดันโลหิตที่ใช้ยารักษาอยู่มีประสิทธิภาพด้อยลงได้ ไม่ควรใช้เมลาโทนินร่วมกับยาลดความดันโลหิตดังต่อไปนี้ captopril (Capoten), enalapril (Vasotec), losartan (Cozaar), valsartan (Diovan), diltiazem (Cardizem), Amlodipine (Norvasc), hydrochlorothiazide (HydroDiuril), and furosemide (Lasix)
- ยาแก้แพ้ หรือยาที่ช่วยลดภูมิคุ้มกัน (Immunosuppressants) เมลาโทนินอาจเพิ่มการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันและอาจแทรกแซงการรักษาด้วยระบบภูมิคุ้มกันหลีกเลี่ยงการใช้เมลาโทนินร่วมกับยาประเภท immunosuppressant drugs ต่อไปนี้ asazathioprine (Imuran), basiliximab (Simulect), cyclosporine (Neoral, Sandimmune), daclizumab (Zenapax), muromonab-CD3 (OKT3, Orthoclone OKT3), mycophenolate (CellCept), tacrolimus (FK506, Prograf), sirolimus (Rapamune), prednisone (Deltasone, Orasone), and other corticosteroids (glucocorticoids)
- ยาต้านอาการแข็งตัวของเลือด Warfarin (Coumadin): เมลาโทนินอาจส่งผลกระทบต่อ Warfarin (Coumadin) และเพิ่มความเสี่ยงต่ออาการเลือดไหลหรือบวมช้ำได้
Theratonin 3 mg. ปริมาณ
Theratonin เมลาโทนิน ช่วยการนอนหลับ วิธีรับประทาน
ทาน Theratonin ครั้งละ 1 เม็ดต่อวัน 30-60 นาทีก่อนนอน หรือตามคำแนะนำของแพทย์
ไม่ควรขับรถหรือใช้เครื่องจักรหนักอย่างน้อย 4-5 ชั่วโมงหลังรับประทาน Theratonin
Theratonin 3 mg. ราคา
PRODUCT FAQ
Q. What is melatonin?
Melatonin is a hormone secreted by the pineal gland that regulates sleep-wake cycles, also known as circadian rhythm. Melatonin also functions as an antioxidant, and studies have shown it may protect egg follicles from oxidative stress.*
Melatonin supplementation is also supported by research to enhance egg and embryo quality in women undergoing controlled ovarian stimulation during fertility treatments such as IVF.*
Q. How is Theratonin different from other melatonin supplements?
Theratonin contains 3 mg of pharmaceutical-grade melatonin in a chewable, berry-flavored, quick-dissolving tablet. It contains no other nutrients, to ensure that you get only what you need and nothing more.
Theratonin is independently tested and certified by NSF International for content accuracy and purity. This is important because the quality and purity of melatonin supplements can vary substantially.
A recently published study tested 30 different melatonin products and found that more than 71% of the supplements tested did not contain the amount of melatonin they claimed. The actual melatonin content in these supplements ranged from 83% below to as much as 478% above the amount of melatonin claimed on the label. In addition, 26% of the products tested were contaminated with varying amounts of serotonin, a potent neurotransmitter.
Q. Who is likely to benefit from Theratonin?
Women who are undergoing fertility treatments with ovarian stimulation and have concerns about their egg quality may benefit from Theratonin.
Women taking Theratonin while trying to conceive should take it along with a preconception prenatal supplement, such as TheraNatal® Core or OvaVite®.
Q. What is the best time of day to take Theratonin?
Theratonin should be taken 30 minutes to one hour before bedtime. Do not drive or operate heavy machinery for at least 4-5 hours after taking Theratonin.
Q. Can I take Theratonin with other dietary supplements?
Yes. You can take Theratonin with most other dietary supplements.
Women taking Theratonin while trying to conceive should also take a preconception prenatal supplement, such as TheraNatal® Core or OvaVite®. Theratonin is often taken along with Ovasitol.
Certain dietary supplements may not be recommended to take with Theratonin.
Echinacea- Taking echinacea with melatonin might have negative effects on immune function.
St. John’s wort and Vitex angus-castus- both increase melatonin levels in the body. In theory, taking either of these supplements might increase the effects and side effects of melatonin.
Do not take Theratonin with other supplements containing melatonin.
Q. How long will it take for Theratonin to work?
It is recommended to start taking Theratonin at least six weeks prior to egg retrieval.
Q. If I am trying to conceive naturally should I take Theratonin?
No. Women trying to conceive naturally should not take melatonin. This is because it may interfere with ovulation, making it more difficult to get pregnant. Theratonin is formulated for women going through controlled ovarian stimulation for fertility treatments.
Q. Does Theratonin have side effects?
Evidence shows that melatonin is considered safe for most healthy individuals.
Melatonin is a neurohormone and can cause drowsiness, “heavy head,” and dizziness. Do not drive or operate heavy machinery for at least 4-5 hours after taking Theratonin.
Q. Is there anyone who should not take Theratonin?
Yes. Women who are pregnant or nursing should not take Theratonin.
Those who are allergic to strawberries, sweet potatoes, radishes, cherries, or apples should not take Theratonin. The natural flavor and color used in Theratonin contain small amounts of these fruit and vegetable concentrates. Those who are allergic to stevia should not take Theratonin, which contains a small amount of stevia leaf extract for sweetness.
Consult with your healthcare provider before using Theratonin if you are being treated for an auto-immune disease, depression, diabetes, seizure disorder, or thyroid disease. Melatonin may worsen symptoms of depression in some people. Melatonin may increase or decrease blood sugar levels in people with diabetes, so be sure to monitor your blood sugar levels closely if you take melatonin. Melatonin may also impact thyroid hormone levels, so if you are taking thyroid medication, discuss whether you can take melatonin with your doctor.
Also, consult a healthcare professional if you are experiencing long-term sleep difficulties, and before use in children. In general, if you have a medical condition, and are taking medications, consult a healthcare provider before starting melatonin.
Q. Can I continue to take Theratonin during pregnancy?
No. Discontinue use of Theratonin if you become pregnant. There is not enough evidence to determine the safety of melatonin during pregnancy. For women going through fertility treatment such as IVF, we recommend stopping Theratonin after embryo transfer.
Q. Can I take Theratonin while breastfeeding?
No. Do not use Theratonin while breastfeeding. There is not enough evidence to determine the safety of melatonin during breastfeeding.
Q. What natural flavors and colors are in Theratonin?
The natural berry flavor used in Theratonin contains a strawberry concentrate. The fruit and vegetable powder used as a natural colorant in Theratonin contains sweet potato, radish, cherry, and apple concentrates.
Q. Does Theratonin interact with any prescription medications or dietary supplements?
Yes. Please consult with your doctor or pharmacist to determine if melatonin is right for you. Melatonin may interfere with the effectiveness of the following medications:
Medications for diabetes (Antidiabetes drugs): Use melatonin cautiously as there is some concern that melatonin may increase or decrease blood sugar levels, and thus decrease or increase the effectiveness of these medications.
Medications to prevent seizures (Anticonvulsants): Melatonin may decrease the effectiveness of anticonvulsants. Do not take with phenobarbital, primidone (Mysoline), valproic acid (Depakene), gabapentin (Neurontin), carbamazepine (Tegretol), and phenytoin (Dilantin).
Medications that lower the seizure threshold: Melatonin might increase the risk of seizures in some people.Use melatonin cautiously with drugs that lower the seizure threshold, which includes anesthetics (propofol, others), antiarrhythmics (mexiletine), antibiotics (amphotericin, penicillin, cephalosporins, imipenem), antidepressants (bupropion, others), antihistamines (cyproheptadine, others), immunosuppressants (cyclosporine), narcotics (fentanyl, others), stimulants (methylphenidate), and theophylline.
Medications for high blood pressure (Antihypertensive Medications): Although melatonin may decrease blood pressure in healthy people, melatonin might make blood pressure worse in those already taking medications for high blood pressure. Monitor your blood pressure closely if you take captopril (Capoten), enalapril (Vasotec), losartan (Cozaar), valsartan (Diovan), diltiazem (Cardizem), Amlodipine (Norvasc), hydrochlorothiazide (HydroDiuril), and furosemide (Lasix).
Medications that decrease the immune system (Immunosuppressants): Melatonin may increase immune function and might interfere with immunosuppressive therapy. Avoid using with immunosuppressant drugs such asazathioprine (Imuran), basiliximab (Simulect), cyclosporine (Neoral, Sandimmune), daclizumab (Zenapax), muromonab-CD3 (OKT3, Orthoclone OKT3), mycophenolate (CellCept), tacrolimus (FK506, Prograf), sirolimus (Rapamune), prednisone (Deltasone, Orasone), and other corticosteroids (glucocorticoids).
Warfarin (Coumadin): Melatonin may increase the effects of warfarin and increase the risk of bruising and bleeding.
REVIEW
comments powered by Disqus